bdcorpamerica.com

เสาวรจนี นารีปราโมทย์ พิโรธวาทัง สัลลาปังคพิสัย หมายถึง - เสาวรจนี – หนึ่งในรสวรรณคดีไทย (บาลีวันละคำ 2430) – ธรรมธารา

  1. วิจัย
  2. ก๊ก ของใคร
  3. อะไรอะไรก็ไทย: รสในวรรณคดีไทย
  4. ข้อใด
  5. เสาวรจนี – หนึ่งในรสวรรณคดีไทย (บาลีวันละคำ 2430) – ธรรมธารา
  6. มหาเวสสันดรชาดก

เพื่อน ๆ ชอบทานอาหารรสอะไร! บางคนอาจชอบทานหวาน บางคนชอบรสชาติเปรี้ยวจี๊ด แต่นอกจากอาหารจานอร่อย เพื่อน ๆ รู้ไหมว่าวรรณคดีไทยก็มีรสกับเขาเหมือนกันนะ! นอกจากเนื้อหาและเรื่องราวอันน่าติดตาม เพื่อน ๆ เคยสังเกตกันบ้างไหมว่าภาษาในบทประพันธ์ (โดยเฉพาะบทร้อยกรอง) กวีได้ใช้ศิลปะอะไร ถึงเล่าเรื่องได้ชวนติดตามขนาดนี้ คำตอบก็คือ 'กวีโวหาร' หรือที่เมื่อก่อนเราคุ้นเคยกันในชื่อ 'รสวรรณคดีไทย' นั่นเอง จะออกรสออกลีลามากขนาดไหน เตรียมตัวอร่อยไปกับวรรณคดีไทยได้เลย! กวีโวหาร ศิลปะการใช้ถ้อยคำ ที่ทำให้วรรณคดีมีรสชาติยิ่งขึ้น ถ้าเปรียบวรรณคดีไทยเป็นอาหาร การปรุงวรรณคดีไทยให้อร่อยน่าทาน พ่อครัว (หรือกวีของเราในที่นี้) ก็มีกรรมวิธีสุดพิเศษในการปรุงที่เรียกกันว่า "กวีโวหาร" ว่าแต่กวีโวหารนี่คืออะไรกันนะ?

วิจัย

เสาวรจนี นารีปราโมทย์ พิโรธวาทัง สัลลาปังคพิสัย หมายถึง ก๊ก ของใคร

ก๊ก ของใคร

แบบทดสอบก่อนเรียน ๑. ชาดก หมายถึงข้อใด ก. นิทานที่มีคติสอนใจ ข. เรื่องที่แต่งขึ้นเพื่อใช้เทศน์ ค. เรื่องราวของพระเวสสันดร ง. เรื่องราวของพระโพธิสัตว์ ๒. มหาเวสสันดรชาดกมีจำนวนคาถาเท่าใด ก. ๑๐๐ คาถา ข. ๕๐๐ คาถา ค. ๑, ๐๐๐ คาถา ง. ๑, ๕๐๐ คาถา ๓. มหาเวสสันดรชาดกแต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทใด ก. กลอนแปด ข. กาพย์ยานีย์ ค. ร่ายาว ง. ฉันท์ ๔. การที่มีผู้นิยมฟังเทศน์เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กันอย่างแพร่หลาย เพราะเชื่อว่าจะเกิดอานิสงส์ในข้อใดเป็นสำคัญ ก. ทำให้มีอายุยืน ข. ได้ไปเกิดบนสวรรค์ ค. ได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ ง. ได้เกิดในสมัยพระศรีอาริย์ ๕. ข้อใดมิใช่เหตุที่บ่งบอกถึงลางร้าของพระนางมัทรี ก. พระนัยเนตรทั้งสองข้างไม่ขาดสายพระอัสสุชล ข. ดอกไม้ที่เคยเก็บมาร้อยเป็นมาลัยก็กลายเป็นมีลูกมีผลขึ้นมา ค. ทิศทั้งแปดก็มืดมัวมนทุกหนแห่ง ทั้งขอบฟ้าก็ดาดแดงเป็นสายเลือด ง. ผลาผลในกลางไพร่ที่มีผลเป็นพุ่มพวง ก็กลับกลายเป็นดอกดวงเดียรดาษอนาถเนตร ๖. การที่เทวดาแปลงเป็นสัตว์ทั้งสามมาขวางทางพระนางมัทรีไว้จนมืดค่ำ แล้วก็ปล่อยให้พระนางมัทรีผ่านไปนั้น เป็นเพราะสาเหตุในข้อใด ก. เพราะ เห็นใจนางที่คิดถึงสองกุมารและสามี ข. เพราะ พระเวสสันดรส่งกระแสจิตมาขอความช่วยเหลือ ค.

อะไรอะไรก็ไทย: รสในวรรณคดีไทย

  1. รสวรรณคดีแห่งสามัคคีเภทคำฉันท์ - GotoKnow
  2. สเปค TOYOTA C-HR รายละเอียดออฟชั่น ราคาโตโยต้า C-HR รับจองเเล้ววันนี้ - SALESCAR888 By PING TOYOTA
  3. สุนัข 2 สายพันธุ์คู่ชาติไทย ที่คุณต้องรู้จัก - Petcitiz.info
  4. โรงแรม ใกล้ กระทรวง ศึกษาธิการ

ข้อใด

พลางพิศดูผลาผลในกลางไพรทั้งนางเคยได้อาศัยทรงสอยอยู่เป็นนิตย์ผิดสังเกต ค. รัศมีพระจันทร์ก็มัวหมองเหมือนหนึ่งจะเศร้าโศกแสนวิปโยคเมื่อยามปัจจุสมัย ง. นางจึ่งเซซังเข้าไปสู่พระอาศรมบังคมบาทพระภัสดา ประหนึ่งว่าชีวาจะวางวายทำลายล่วง ๒๐. "เจ้ามัทรีผู้มีรูปงาม ไฉนวันนี้จึงกลับเสียจนค่ำไม่ห่วงลุกห่วงผัวเสียบ้างเลย มาตกทุกข์ได้ยากอยู่ด้วยกันเท่านี้ ยังจะมาประพฤติมิดีอีกหรือไร" ข้อความนี้จัดเป็นรสทางวรรณคดีประเภทใด ก. เสาวรจนี ข. นารีปราโมทย์ ค. พิโรธวาทัง ง. สัลลาปังคพิสัย

เสาวรจนี – หนึ่งในรสวรรณคดีไทย (บาลีวันละคำ 2430) – ธรรมธารา

รสในวรรณคดีไทย หมายถึง รสของความไพเราะในการใช้ถ้อยคำให้เกิดความงดงามและเกิดอารมณ์แบ่งเป็น 4 รสคือ 1. เสาวรจนี 2. นารีปราโมทย์ 3. พิโรธวาทัง 4. สัลลาปังคพิสัย 1. เสาวรจนี หมายถึง การชมความงาม อาจเป็นชมความงาม ของตัวละคร ทั้งชายและหญิง ชมความงาม ของบ้านเมือง กองทัพ ป่าธรรมชาติ พอดูรวมๆ แล้วมีเสน่ห์เหลือเกินไม่ต้องมาเขินฉันพูดจริงๆเธอมีเสน่ห์มากมายจะน่ารักไปไหนอยากจะได้แอบอิงยิ่งดูยิ่งมีเสน่ห์ หน่อกษัตริย์ทัศนานางเงือกน้อย ดูแช่มช้อยโฉมเฉลาทั้งเผ้าผม ประไพพักตร์ลักษณ์ล้าล้วนขาคม ทั้งเนื้อนมนวลเปล่งออกเต่งทรวง ขนงเนตรเกศกรอ่อนสะอาด ดังสุรางค์นางนาฏในวังหลวง พระเพลินพิศคิดหมายเสียดายดวง แล้วหนักหน่วงนึกที่จะหนีไป เสียงเจ้าสิเพรากว่า ดุริยางคะดีดใน ฟากฟ้าสุราลัย สุรศัพทะเริงรมย์ ยามเดินบนเขินขัด กละนัจจะน่าชม กรายกรก็เร้ารม ยะประหนึ่งระบำสรวย 2. นารีปราโมทย์ หมายถึง อารมณ์ที่แสดงถึงความรักตั้งแต่ชื่นชม ชื่นชอบ เกี้ยวพาราสี รักใคร่ ฯลฯ (จีบกัน) ถึงม้วยดินสิ้นฟ้ามหสมุทร ไม่สิ้นสุดความรักสมัครสมาน แม้นเกิดในใต้หล้าสุธาธาร ขอพบพานพิศวาสทุกชาติไป พี่พบน้องเพี้ยงแต่ ยามเดียว คือเชือกผสมผสานเกลียว แฝดฝั้น ดังฤาจะพลันเหลียว คืนจาก เรียมนา เจ้าจากเรียมจักกลั้น สวาทกลั้นใจตาย 3.

มหาเวสสันดรชาดก

สัลลาปังคพิสัย (รสแห่งความโศกเศร้า) ได้แก่ บทเศร้าโศก คร่ำครวญ เวทนา สงสาร ตัวอย่างสัลลาปังคพิสัยในสามัคคีเภทคำฉันท์ ๔. ๑ ตอนวัสสการพราหมณ์ถูกลงอาญา พวกราชมัลโดย พลโบยมิใช่เบา สุดหัตถแห่งเขา ขณะหวดสิพึงกลัว บงเนื้อก็เนื้อเต้น พิศเส้นสรีร์รัว ทั่วร่างและทั้งตัว ก็ระริกระริวไหว แลหลังละลามโล หิตโอ้เลอะหลั่งไป เพ่งผาดอนาถใจ ระกะร่อยเพราะรอยหวาย เนื่องนับอเนกแนว ระยะแถวตลอดลาย เฆี่ยนครบสยบกาย สิรพับพะกับคา ๔.

เสาวรจนี นารีปราโมทย์ พิโรธวาทัง สัลลาปังคพิสัย หมายถึง วิจัย

รสของวรรณคดีไทย แบ่งออกเป็น ๔ รส คือ ๑. เสาวรจนี (รสแห่งความเพลิดเพลิน) ได้แก่บทชมโฉม ชมความงามของวัตถุสิ่งของ หรือชมธรรมชาติ ตัวอย่าง เสาวรจนีในเรื่องสามัคคีเภทคำฉันท์ ๑. ๑ ตอนบรรยายความงดงามของปราสาทราชมณเทียรของเมืองราชคฤห์ อำพนพระมนทิรพระราช สุนิวาสน์วโรฬาร์ อัพภันตรไพจิตรและพา หิรภาคก็พึงชม เล่ห์เลื่อนชะลอดุสิตฐา นมหาพิมานรมย์ มารังสฤษฎ์พิศนิยม ผิจะเทียบก็เทียมทัน สามยอดตลอดระยะระยับ วะวะวับสลับพรรณ ช่อฟ้าตระการกลจะหยัน จะเยาะยั่วทิฆัมพร บราลีพิลาศศุภจรูญ นภศูลประภัสสร หางหงส์ผจงพิจิตรงอน ดุจกวักนภาลัย ๑.