bdcorpamerica.com

Digital Society คือ: E-Signature Vs Digital Signature คืออะไรและแตกต่างกันอย่างไร?

  1. Youtube
  2. Meaning
  3. International
  4. University
  5. Magazine

ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อถือได้ซึ่งใช้ใบรับรองที่ออกโดยผู้ให้บริการออกใบรับรอง ลายเซ็นมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทที่ 3 มีลักษณะคล้ายกับประเภทที่ 2 แต่ต่างกันตรงที่การใช้งาน โดยใบรับรองต้องมาจากหน่วยงานผู้ออกใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อถือได้ เช่น Thai Digital ID, NRCA, INET CA เป็นต้น ร่วมด้วย เพื่อสนับสนุนลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรา 28 พระราชบัญญัติธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พ.

Youtube

  • โครงการประเมินและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
  • Digital society คือ international
  • Digital society คือ meaning
  • CBDC คืออะไร...แล้วคนไทยจะได้ใช้เมื่อไร? – THE STANDARD

Meaning

International

ประเทศไทยกำลังพัฒนากันใหญ่แล้ว วันก่อนเตรียมพัฒนาคลองแสนแสบ 84 โครงการ ยาวนาน 11 ปี งบประมาณ 8. 25 หมื่นล้านบาท วันนี้ พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี ประธานประชุมบอร์ดกองทุนดิจิทัลฯ เคาะอีก 2, 500 ล้านบาทหนุนทุนดิจิทัล พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและประธานประชุมบอร์ดกองทุนดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ครั้งที่ 5/2564 พร้อมด้วยชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ รมว. ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม อัจฉรินทร์ พัฒนพันธ์ชัย ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ภุชพงค์ โนดไธสง เลขาธิการคระกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติและคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เข้าร่วมประชุม ณ ตึกบัญชาการ 1 ทำเนียบรัฐบาล พลเอกประวิตรระบุว่า ที่ประชุมวันนี้เห็นชอบประกาศหลักเกณฑ์การพิจารณาเพื่อเปิดรับข้อเสนอโครงการหรือกิจกรรมของกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ.

University

2565 ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2565 สิงคโปร์ ขึ้นแท่นเบอร์หนึ่งในเอเชียที่ดึงดูดความสามารถและการพัฒนาในยุคดิจิทัล ที่มา – รัฐบาลไทย ติดตามข่าวสารจาก Brand Inside ได้จาก Facebook ของเรา

Magazine

จีนถือเป็นชาติแรกที่ประกาศใช้เงินหยวนดิจิทัลสำหรับประชาชนอย่างเป็นทางการไปแล้วตั้งแต่ช่วงต้นปี 2563 ขณะที่สวีเดนก็ได้เริ่มทดสอบการใช้เงินสกุลโครนาดิจิทัล หรือ e-krona ไปแล้วเช่นกัน และยังมีอีกธนาคารกลางในอีกหลายประเทศที่กำลังเดินหน้าศึกษาและทดลองเรื่องนี้อย่างจริงจัง เช่น ธนาคารกลางอังกฤษและแคนาดา สำหรับประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท. ) เองก็ถือเป็นธนาคารกลางแห่งแรกๆ ของโลก ที่ได้เริ่มศึกษาและพัฒนา CBDC โดยเริ่มต้นทดสอบระบบการชำระเงินต้นแบบในระดับสถาบันการเงิน (Wholesale) ร่วมกับธนาคารพาณิชย์ 8 แห่งมาตั้งแต่ปี 2561 ภายใต้ชื่อโครงการ 'อินทนนท์' นอกจากนี้ ธปท. ยังได้ร่วมมือกับธนาคารกลางฮ่องกงและธนาคารกลาง UAE ทดสอบระบบโอนเงินสกุลดิจิทัลข้ามประเทศระหว่างกันไปแล้วด้วย วชิรา อารมย์ดี ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ธปท. ได้ให้สัมภาษณ์กับสื่อมวลชนเมื่อไม่นานมานี้ว่า การศึกษา CBDC ของ ธปท. ในปัจจุบันมีความคืบหน้าไปมาก และอยู่ในขั้นตอนการต่อยอดศึกษา ออกแบบและพัฒนา CBDC สำหรับภาคธุรกิจ โดยวชิราระบุว่า ธปท. มีแผนจะเริ่มทำ Pilot Test เพื่อทดสอบการใช้ CBDC สำหรับการใช้งานในภาคประชาชน หรือ Retail CBDC ในช่วงไตรมาสที่ 2 ของปี 2565 โดยเบื้องต้นจะเป็นการทดลองใช้งานภายใน ธปท.

นำเทคโนโลยีมาใช้กับที่อยู่อาศัย เช่น เทคโนโลยี Smart Home ที่ควบคุมระบบภายในบ้านด้วยอินเทอร์เน็ต ผ่านการสั่งงานด้วยเสียง (Smart Speaker) หรือระบบสแกนใบหน้า เพื่อช่วยยกระดับความปลอดภัยทั้งในด้านการป้องกันอาชญากรรม ภัยพิบัติ หรือด้านสุขภาพ 3. นำเทคโนโลยีมาใช้กับรถยนต์ เช่น เทคโนโลยีไร้คนขับ ที่นอกจากจะสร้างความสะดวกสบายแล้วยังสามารถช่วยผู้สูงอายุ ผู้พิการทางสายตา หรือผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้งานรถยนต์เอง ให้เดินทางถึงที่หมายได้อย่างปลอดภัย พร้อมมีระบบวิเคราะห์ข้อมูลเส้นทางหรือระบบแจ้งเตือนสิ่งกีดขวาง เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุ รวมถึงการใช้รถยนต์พลังงานไฟฟ้า เพื่อลดการเผาผลาญพลังงาน 4. นำเทคโนโลยีมาใช้กับอุตสาหกรรมการเงิน ที่จะทำให้ผู้คนไม่ต้องพกเงินสดอีกต่อไป แต่สามารถใช้จ่ายหรือแลกเปลี่ยนเงินผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้อย่างเต็มรูปแบบ 5.

หรือ ETDA (เอ็ตด้า) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (Ministry of Digital Economy and Society หรือ MDES) ได้แบ่งประเภทของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ทั่วไป เป็นลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบใดๆ อาจประกอบด้วยอักขระ ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การพิมพ์ลงชื่อไว้ท้ายอีเมล, ไฟล์ลายเซ็นที่ถูกแสกนเข้าไปในคอมพิวเตอร์, การคลิกปุ่มตอบตกลงในข้อมูลใด ๆ ไปจนถึงการใช้งานระบบอัตโนมัติที่มีชื่อผู้ตอบ หรือผู้ลงข้อมูลนั้น เป็นต้น ซึ่งมีลักษณะตามที่กำหนดในมาตรา 9 พระราชบัญญัติธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พ. ศ. 2544 2. ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อถือได้ ประเภทที่ 2 ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อถือได้ ที่มีลักษณะตามที่กำหนดในมาตรา 26 แห่งกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ลายมือชื่อดิจิทัลที่อาศัยโครงสร้างพื้นฐานกุญแจสาธารณะ (Public Key Infrastructure: PKI) เริ่มจากผู้ใช้บริการทำคำขอใช้บริการใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อยื่นขอผ่านทางเจ้าหน้าที่รับลงทะเบียน หลังจากนั้น เรื่องจะถูกส่งต่อไปยังองค์กรผู้ให้บริการออกใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ (Certification Authority) เพื่อรับรองตัวตนที่แท้จริงของผู้ใช้บริการ และทำการบันทึกข้อมูลไปยัง ที่บันทึกข้อมูล (Repository) เพื่อสามารถสืบค้นตัวตนได้ในภายหลัง 3.