bdcorpamerica.com

ภาวะ ปอด แฟบ

  1. ภาวะปอดแฟบ
  2. ภาวะปอดแฟบ การพยาบาล
  3. 5 สิ่งที่ต้องระวังในการดูแลผู้ป่วยติดเตียง
  4. ปอดแฟบ (Atelectasis) - โรงพยาบาลผู้สูงอายุและศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู Chersery | RYT9

1 พยายามอธิบายเท่าที่ทำได้ อย่าโต้เถียง ให้พยายามเข้าใจว่าเป็นจากโรคทางสมอง 5. 2 จัดสถานที่ สิ่งของให้ผู้ป่วยคุ้นเคยเพื่อลดอาการสับสน 5. 3 บอก วัน เวลา สถานที่ ให้ผู้ป่วยทราบทุกวัน อาจติดปฏิทิน และนาฬิกาที่มีตัวเลขขนาดใหญ่ชัดเจนไว้ในห้อง 5. 4 ห้องผู้ป่วยควรมีหน้าต่างให้แสงส่องถึงได้ เพื่อให้ผู้ป่วยไม่สับสนระหว่างกลางวันและกลางคืน 5. 5 ลดตัวกระตุ้นในตอนกลางคืน เช่น เสียง หรือ แสงรบกวน อากาศไม่ร้อนหรือหนาวจนเกินไป 5. 6 กระตุ้นในผู้ป่วยตื่นในเวลากลางวัน หากผู้ป่วยนอนหลับช่วงกลางวันจะทำให้ผู้ป่วยไม่หลับเวลากลางคืน และสับสนกลางคืนได้ สุดท้ายการดูแลผู้ป่วยติดเตียง อาจจะฟังดูยาก แต่หากผู้ดูแลเข้าใจผู้ป่วยและรู้วิธีการดูแลที่ถูกต้องก็จะสามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่ตามมาได้ และที่สำคัญที่สุดคือ เราจะมีโอกาสได้ดูแลท่านเหมือนที่ท่านเคยดูแลเรามาเมื่อครั้งเรายังช่วยเหลือตัวเองไม่ได้

ภาวะปอดแฟบ

การฝึกหายใจ วิธีที่ 1 การฝึกหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกะบังลม วางมือทั้ง 2 ข้างบนท้องบริเวณใต้ลิ้นปี่ สูดลมหายใจเข้าลึกๆ ช้าๆ ทางจมูก และให้ท้องป่องออก เป่าลมหายใจออกโดยวิธีห่อปากเป่าลมออกช้าๆ ให้ท้องแฟบลงช้าๆ หายใจเข้าและออกซ้ำกัน 6-10 ครั้ง/รอบ อย่างน้อย 3 รอบในทุกๆ ชั่วโมงที่ตื่น วิธีที่ 2 การฝึกหายใจของกลีบปอดส่วนล่าง วางมือทั้ง 2 ข้างที่ชายโครงด้านล่าง สูดลมหายใจเข้าลึกๆ ช้าๆ ทางจมูก ให้ซี่โครงบานออก เป่าลมหายใจโดยการห่อปาก เป่าลมออกช้าๆ ให้ซี่โครงแฟบลง หายใจเข้าและออกซ้ำกัน 6-10 ครั้ง/รอบ อย่างน้อย 3 รอบในทุกๆ ชั่วโมงที่ตื่น 2. การฝึกการเคลื่อนไหวของทรวงอก เพื่อช่วยให้เกิดการขยายตัวของทรวงอกเพิ่มขึ้น เพิ่มการระบายอากาศของปอดให้สามารถกลับมาทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพหลังการผ่าตัด และป้องกันภาวะข้อไหล่ติดแข็งหลังผ่าตัดทรวงอก นอกจากนี้การฝึกเคลื่อนไหวของทรวงอกยังเป็นวิธีที่ช่วยลดความตึงและเพิ่มความยืดหยุ่นของพังผืดที่เกิดขึ้นกับแผลหลังผ่าตัดได้อีกด้วย วิธีฝึก ยกแขนขึ้นพร้อมกันสองข้างพร้อมกับค่อยๆสูดลมหายใจเข้าทางจมูกช้าๆ หลังจากนั้นเอาแขนลงพร้อมกับค่อยๆเป่าลมออกทางปากช้าๆ ทำซ้ำ 5-10 ครั้ง/รอบ 1-2 รอบ 3.

ภาวะปอดแฟบ การพยาบาล

5 สิ่งที่ต้องระวังในการดูแลผู้ป่วยติดเตียง

เคาะปอด เพื่อระบายเสมหะภายในปอด 2. สอนหายใจ การฝึกการหายใจแบบ Pursed Lip วิธีปฏิบัติ -จัดท่าทางให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบายที่สุด -สูดลมหายใจเข้าทางจมูก (ท้องป่อง) แล้วหายใจออกทางปาก (ท้องแฟบ) โดยห่อปากเป่าลมออกช้าๆ 3. สอนไออย่างมีประสิทธิภาพ การฝึกไอ Cough Training -จัดท่าควรอยู่ในท่านั่ง โน้มตัวลงมาข้างหน้าเล็กน้อย -สูดลมหายใจเข้าออกลึกๆ ตามการฝึกหายใจ -กลั้นหายใจ พร้อมกับไอออกมา 1-2 ครั้ง 4.

ปอดแฟบ (Atelectasis) - โรงพยาบาลผู้สูงอายุและศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู Chersery | RYT9

การฝึกการลุกนั่งห้อยขา ผู้ป่วยหลังผ่าตัด ควรจะลุกนั่งโดยการตะแคงตัวก่อนเสมอ เพื่อลดความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดอาการปวดแผลและปวดหลังได้ทั้งนี้ผู้ป่วยไม่ควรลุกขึ้นจากท่านอนหงายและใช้มือดึงข้างเตียง และหากญาติต้องการช่วยไม่ควรดึงแขนผู้ป่วยขึ้น ควรสอดมือเข้าประคองที่ด้านหลังบริเวณสะบักขึ้น วิธีฝึก ให้ผู้ป่วยตะแคงตัวไปด้านที่ต้องการจะลุกขึ้น งอเข่าและสะโพกทั้ง 2 ข้าง หย่อนขาทั้ง 2 ข้างลงจากเตียงและใช้ข้อศอกยันตัวลุกขึ้นนั่ง

ภาวะปอดแฟบ การพยาบาล
  • Samsung galaxy a22 รีวิว
  • ร้าน เฟอร์นิเจอร์ หนองแขม
  • Not to mention แปล quote
  • วิจัย ใน ชั้น เรียน 5 บท ป.2
  • 5 สิ่งที่ต้องระวังในการดูแลผู้ป่วยติดเตียง
  • ทบทวน๑▦▤โลโก้ทีมฟุตบอลผนังพื้นหลังปารีสแซงต์แชร์กแมงธงโลโก้ผ้าผนังแชมเปี้ยนส์ลีกแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดโลโก้ทีมผนังผ้า | Good price
  • Tensei shitara Slime Datta Ken SS2 Part 2 ตอนที่ 1-12 ซับไทย - ดูการ์ตูน ดูอนิเมะ H-anime โดจิน
  • มาโคร pb razer

กรุงเทพฯ--9 ก. ย.